AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal <p>วารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นวารสารวิชาการที่มีมาตรฐานตามเกณฑ์วารสารวิชาการระดับชาติโดยศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) ที่เผยแพร่ผลงานบทความทางวิชาการ (Article) บทความงานวิจัย (Research Article) บทความปริทัศน์ (Review Article) วิจารณ์หนังสือ (Book Review) และงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาตามคุณภาพบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้ บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์ต้องจัดเตรียมอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ตามมาตรฐานวารสารวิชาการและผ่านการพิจารณาคุณค่าจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยบทความละ 2 ท่านก่อนการตีพิมพ์</p> <p><strong>ISSN 2228-9526</strong></p> en-US <ul><li>บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Reader) จากภายในและนอกมหาวิทยาลัย</li><li>ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)</li><li>กองบรรณาธิการวารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไม่สงวนสิทธิในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงแหล่งที่มาด้วย</li></ul> law_journal@au.edu (คณะนิติศาสตร์โทมัส อไควนัส มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ) arphorntyj@au.edu (Arphorn T.) Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 OJS 3.2.1.0 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 สารบัญ http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7158 วารสาร นิติศาสตร์ Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7158 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 การคุ้มครองลิขสิทธิ์การแสดงบัลเลต์: ศึกษาเฉพาะกรณี การเต้น classical ballet solo http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7159 <p>บทคัดย่อ<br>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาวิวัฒนาการและการจาแนกหมวดหมู่โดยทั่วไปของท่าเต้นบัลเลต์ (2) เพื่อศึกษากฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับการดัดแปลงผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์ (3) เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการออกแบบท่าเต้นที่ไม่มีส่วนสาคัญที่ซ้ากันเลย (4) เพื่อเสนอแนวทางในการให้ความคุ้มครองแก่งานนาฏยศิลป์ที่จะสามารถสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์เนื้อหาจากบทความ สารสนเทศบน Internet และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านบัลเลต์ กลุ่มตัวอย่างเป็นการสุ่มแบบเจาะจง สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ทางด้านบัลเลต์มากกกว่า 10 ปี จานวน 6 ท่าน<br>ผลการวิจัยพบว่า (1) วิวัฒนาการของบัลเลต์ได้แพร่หลายจากอิตาลีไปทั่วทวีปยุโรป จากยุคกลาง ยุคเรอแนซซองค์ ก้าวสู่ยุคบัลเลต์คลาสสิกในรัสเซีย และการจาแนกหมวดหมู่โดยทั่วไปของท่าเต้นบัลเลต์มีชื่อโดยเฉพาะ เช่น Solo คือการแสดงเดี่ยว Duet คือการเต้นคู่ของเพศเดียวกัน Pas de Deux คือการเต้นคู่ของหญิงชาย เป็นต้น (2) กฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องคือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 หมวดที่ 1 ส่วนที่ 3 มาตรา 15 (3) เนื่องจากบัลเลต์ได้มีการกาหนดท่าพื้นฐานต่างๆ ไว้อยู่แล้ว ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบว่าจะนาท่าเหล่านั้นมาเรียงร้อยให้เกิดเป็นผลงานสร้างสรรค์ได้อย่างไร (4) สาหรับแนวทางในการให้ความคุ้มครอง ผู้สร้างสรรค์ควรจะกาหนดจุดที่เป็นสาระสาคัญของการแสดงที่สร้างขึ้นมาเอง สาระสาคัญที่ต้องการให้คุ้มครองคืออะไร และบัลเลต์ควรได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>Abstract<br>This article aimed (1) to study evolution and classification of choreography, (2) to study copyright law related to the adaptation of creative works in dramatic work, (3) to analyze the possibilities of choreography that do not have the same significant parts, (4) to propose guidelines for the protection of dramatic arts that can be consistent with reality. This research is qualitative research. Content analysis and content synthesis from articles, thesis, Internet and in-depth interviews. The population is ballet specialist. The samples were Purposive Selection from 6 people with more than 10 years of experience.<br>The result found as; (1) The evolution of ballet has spread from Italy throughout Europe, from the Middle Ages to the Renaissance, to Classical Ballet in Russia. The classification of choreography has specific names: Solo as performed by one person, Duet as a same-sex two people, Pas de Deux as a pair of male and female, etc. (2) The relevant copyright laws are Copyright Act B.E. 2537 Chapter 1 Part 3 Section 15 (3) Ballet has predetermined basic postures, depending on the choreographer how to arrange them into creative works. (4) The choreographer should determine the essence of the performance, which part want to protect and Ballet should be protected by copyright.</p> Kingkamon Benchaphanthawi Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7159 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรในประเทศไทย http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7160 <p>บทคัดย่อ<br>ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 ที่กาหนดเรื่องนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรขึ้นเป็นครั้งแรก แต่จนกระทั่งปัจจุบันยังไม่มีบทบัญญัติที่ครอบคลุมถึงการจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรและการกากับดูแลอย่างเป็นระบบ โดยการที่รัฐให้เสรีภาพแก่เอกชนในการบริหารจัดการกันเองโดยไม่ได้บัญญัติกฎหมายในการกากับดูแล ทาให้เกิดปัญหาข้อพิพาทระหว่างสมาชิกในหมู่บ้านจัดสรรในการใช้พื้นที่และทรัพย์สินส่วนกลางที่เกิดจากความไม่เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน ปัญหาระหว่างสมาชิกและคณะกรรมการที่ไม่ไว้วางใจในการบริหารจัดการของคณะกรรมการ ปัญหาการทุจริต การทางานที่ไม่โปร่งใส ไม่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจของคณะกรรมการที่เพียงพอ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจัดเก็บค่าใช้จ่ายส่วนกลางได้ไม่ครบถ้วนเนื่องจากสมาชิกปฏิเสธการชาระเพื่อตอบโต้ปัญหาการทางานของคณะกรรมการ ส่งผลให้สาธารณูปโภคส่วนกลางที่สมาชิกใช้ร่วมกันต้องเสื่อมโทรมลง คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการตราพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 และยังทาให้สังคมหมู่บ้านจัดสรรอยู่อย่างไม่สงบ เกิดปัญหาความขัดแย้งภายในหมู่บ้านจัดสรรที่ควรจะต้องอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนที่อยู่กันอย่างผาสุก ปัญหาข้อพิพาทยังนาไปสู่การฟ้องร้องคดีต่อศาลจานวนมาก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานะของกฎหมายของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร โครงสร้างองค์กร อานาจ หน้าที่และการได้มาซึ่งคณะกรรมการหมู่บ้านจัดสรร การคุ้มครองสิทธิของสมาชิก และรูปแบบการกากับดูแลจากภาครัฐหรือภาคเอกชนที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสถานะของกฎหมายของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร โครงสร้างองค์กร อานาจหน้าที่และการได้มาซึ่งคณะกรรมการหมู่บ้านจัดสรร การคุ้มครองสิทธิของสมาชิก และศึกษารูปแบบกฎหมายต้นแบบของต่างประเทศ ได้แก่ กฎหมายของรัฐฟลอริด้า ประเทศสหรัฐอเมริกา และรัฐนิวเซาท์เวลล์ ประเทศออสเตรเลีย 3. เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการหมู่บ้านจัดสรร การคุ้มครองสิทธิของสมาชิกหมู่บ้านจัดสรรรวมทั้งการกากับดูแลนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความเป็นธรรมที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต การศึกษานี้ใช้วิธีวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาจากบทบัญญัติกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงคาพิพากษา คาวินิจฉัยของศาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ทั้งของไทยและต่างประเทศในฐานะข้อมูลปฐมภูมิ และศึกษาวิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ ทางวิชาการ บทวิเคราะห์ ในฐานะข้อมูลทุติยภูมิ รวมทั้งศึกษาหลักกฎหมายและทฤษฎีที่สาคัญในเรื่อง นิติบุคคล การจัดการทรัพย์สินส่วนรวม หลักกรรมสิทธิ์รวม หลักกรรมสิทธิ์ร่วม หลักตัวการตัวแทน เป็นต้น ผลการวิจัยพบว่า นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อบริหารจัดการทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคที่ใช้ร่วมกันของสมาชิก โดยสมาชิกมีหน้าที่ตามกฎหมายที่ต้องชาระค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด ทั้งนี้เพื่อให้สาธารณูปโภคของหมู่บ้านได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี สมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เพื่อให้คุณภาพชีวิตที่ดีแก่สมาชิกในหมู่บ้านและเพื่อลดภาระของภาครัฐในการจัดการสาธารณูปโภค ในการบริหารจัดการที่ภาครัฐปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเอกชนนั้น หากเกิดปัญหารัฐควรเข้ามาทาหน้าที่ในการกากับดูแลและจัดการข้อพิพาท ปัญหาในปัจจุบันพบว่ามีปัญหาข้อพิพาทในสังคมหมู่บ้านจัดสรรมีความขัดแย้งกันที่มีสาเหตุหลักมาจากการบริหารจัดการของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ที่ให้อานาจคณะกรรมการอย่างกว้างขวาง โดยไม่มีการกากับดูแลจากภาครัฐที่เพียงพอ ทาให้สมาชิกไม่ได้รับความเป็นธรรม และตอบโต้ด้วยการไม่ชาระค่าใช้จ่าย ทาให้สาธารณูปโภคไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เพียงพอ เกิดความเสื่อมโทรม ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย และคดีหมู่บ้านจัดสรรเป็นคดีที่มีลักษณะที่ต่างจากคดีแพ่งทั่วไปที่คู่กรณีต้องอยู่ร่วมกันในหมู่บ้านเดียวกันต่อไป จึงควรที่จะต้องมีรูปแบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่ได้รับการเอาใจใส่ให้สามารถกลับไปอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุขในสังคมเดียวกันต่อไป ผู้ศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะ ให้มีรูปแบบการจัดตั้ง การบริหารและ การกากับดูแลจากภาครัฐในการบริหารจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร โดยแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน และตรากฎหมายลำดับรองเพื่อรองรับหน่วยงานกากับดูแล รวมไปถึงหน่วยงานที่ทาหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เพื่อลดภาระของศาลยุติธรรม</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>Abstract<br>In Thailand, the “Housing Estate Juristic Person” is established in accordance with the “Land Allocation Act B.E. 2543 (2000)” or the “Act”. However, until present, there have not been enough provisions to systematically cover the management of the Housing Estate Juristic Person, causing problems in Housing Estate communities, such as disputes between members related to the use of common properties, from members’ rights and responsibilities not being properly addressed, disputes between members and committees arising from distrust of the management, corruption and non-transparent management. Moreover, there are no provisions for checks and balances. These issues lead to problems with the collection of common fees resulting from members’ refusal to pay in response to the aforementioned management problems. This leads to the public facilities becoming deteriorated, members’ quality of life being decreased and a failure to achieve the purpose of the Act. This has also resulted in numerous cases brought before the court. This study aims 1. to study the existing law related to the establishment, authority and responsibility of the committee in relation to the Housing Estate Juristic Person, 2. Study legal principle in relating to the establishment, authority and responsibility of the committee in relation to the Housing Estate Juristic Person and studying law model from the State of Florida, United States of America and the State of New South Wales, Australia 3. to find a suitable approach to develop the laws related to management of the Housing Estate Juristic Person in Thailand. This study’s research methodology is documentary research, by studying the relevant legal provisions, the court judgement both in Thailand and foreign countries as primary source. Studying theses, research documents, academic documents, analysis articles as secondary sources. In addition, studying related legal principles and theories which are the principle of Legal Entity, the management of common properties, principle of joint ownership, and tenancy in common, law of agency etc. The study outcome showed that the Housing Estate Juristic Person is a specific legal entity established to manage the common properties, jointly utilized by its members. Giving that members are having their legal duty to pay for expenses by law. This is to ensure that the common properties are well maintained in good condition and members enjoy living peacefully with good quality of life which will decrease public sector’s responsibilities as utilities provider. By giving the private sector freedom to manage themselves, if there are problem public sector should step in to supervise and resolve disputes. At present, there are numerous disputes in Housing Estate Communities mostly caused from lack of good management, the existing law giving broadly power to committee with not enough supervision. Causing unfair treatment to members who then responded to be in default on payment of common fee. Finally, the common properties are deteriorated lack of maintenance this is not meet the purpose and objective of the Law. Additionally, the Housing Estate dispute cases are different from traditional civil cases which the dispute parties will be living in the same community after case resolved. The form of dispute resolution should be more carefully taken care of to restore peacefully living in the community. The study therefore has suggested to provide form establishment and management of Housing Estate Juristic Person and supervision from public sector in management of Housing Estate Juristic Person by suggested for amendment of Land Allocation Act B.E. 2543 and related secondary law to support supervision from public sector. In addition, to provide alternative dispute resolution unit, to reduce dispute case in Housing Estate Juristic Person cases.</p> Sawanya Anumas, Asst.Prof.Dr.Prapin Nuchpium Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7160 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 ความเป็นมาของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้และมูลแห่งหนี้ http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7161 <p>บทคัดย่อ<br>กฎหมายเกี่ยวกับหนี้ของไทยมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ซึ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีกฎหมายที่สาคัญคือพระอัยการกู้ยืมที่เจ้าหนี้สามารถบังคับเอากับเนื้อตัวร่างกายของลูกหนี้ได้ จนกระทั่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 ได้ยกเลิกเปลี่ยนวิธีการบังคับชาระหนี้มาเป็นวิธีการพิพากษาคุมขังตัวลูกหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้แทน และในเวลาต่อมาได้มีการออกพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมลักษณะกู้หนี้ รศ.110 โดยนาวิธีการล้มละลายมาบังคับใช้ครั้งแรกในไทย กล่าวคือหากลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้ เจ้าหนี้มีสิทธิร้องขอต่อศาลให้เจ้าพนักงานเก็บรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ทั้งหมดมาแบ่งชาระแก่เจ้าหนี้ทั้งหลาย และในพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้มีการยกเลิกวิธีการบังคับชาระหนี้จากเนื้อตัวร่างกายของลูกหนี้ทั้งหมดรวมถึงการจาคุกแทนการชาระหนี้ด้วย และต่อมาเพื่อให้กฎหมายมีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้นจึงได้มีการจัดทาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยได้รับอิทธิพลมากจากระบบกฎหมายซีวิลลอว์ ของประเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายแพ่งของเยอรมัน ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส และสวิสเซอร์แลนด์ จึงทาให้ที่มาของมูลหนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม โดยปัจจุบันหนี้นั้นอาจมีที่มาจากนิติกรรม นิติเหตุ หรือบทบัญญัติของกฎหมาย</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>ABSTRACT<br>Thai debt law has been progressively developed for centuries. In Ayutthaya period, there was a loan prosecutor law that the creditors can claim on the debtor's body. Until Rattanakosin period, King Rama IV canceled this repayment method to apply the imprisonment to the debtors when they were unable to pay the debt instead. Later, the Debt Recovery Act, Ror Sor.110 was issued by applying the bankruptcy method to be enforced for the first time in Thailand. That is, if the debtor is unable to pay the debt, the creditor has the right to request the court to officially confiscate all the debtor's property to distribute to all creditors. In this Act, all compulsory debt repayment methods with the debtor's body and imprisonment have been canceled. To make the law more universal, the Civil and Commercial Code was initialed and influenced by the civil law system from various countries, civil law of Germany, Japan, France, and Switzerland. As a result, the source of debt has been changed from the original. The debt now may come from juristic acts, legal causes, or provisions of the law.</p> Assistant Professor Dr.Kanlayanee Theerawongpinyo, Associate Professor Mattaya Jittirat, Dr.Pomrudee Kumpant, Dr.Sakorn Pleamram Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7161 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 แนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมเหตุหย่าในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7162 <p>บทคัดย่อ<br>เหตุแห่งการหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1516 บัญญัติไว้ 10 อนุมาตรา1 นอกจากเหตุใน 10 อนุมาตรานี้แล้วคู่สมรสไม่อาจอ้างเหตุอื่นเพื่อฟ้องหย่าได้ เมื่อศึกษาประมวลกฎหมายแพ่งไต้หวันและประมวลกฎหมายแพ่ง ญี่ปุ่นพบว่ากาหนดให้สามีหรือภริยาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจร้องขอให้ศาลพิพากษาให้หย่าได้เมื่อมีเหตุใดๆ ซึ่งทาให้ยากแก่การรักษาชีวิตสมรส ศาลสูงญี่ปุ่นเคยพิพากษาให้สามีที่แยกกับภริยาและไปอยู่กับหญิงอื่นเป็นเวลา 6 ปี สามารถฟ้องหย่าภริยาได้ นอกจากนี้ เหตุหย่าของไทยตามมาตรา 1516 (7) ที่กาหนดว่าสามีหรือภริยาจะฟ้องหย่าเพราะเหตุที่อีกฝ่ายวิกลจริตได้นั้น ความวิกลจริตต้องถึงขนาดที่จะทนอยู่ร่วมกันฉันสามีภริยาต่อไปไม่ได้และจะต้องมีอยู่ตลอดมาเกินสามปี การถูกบังคับด้วยเงื่อนเวลาอาจไม่เป็นธรรมต่ออีกฝ่ายดังนั้น การจากัดเหตุฟ้องหย่า และการกาหนดเงื่อนเวลาของเหตุหย่าในมาตรา 1516 อาจเป็นผลเสียมากกว่าผลดี ผู้เขียนจึงเสนอให้แก้ไขเงื่อนเวลาในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1516 (7) และเพิ่มเติมเหตุหย่าเกี่ยวกับเหตุสาคัญอื่นใดที่ทาให้การสมรสดาเนินต่อไปได้ยาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>Abstract<br>Cause of divorce under Section 1516 in the Civil and Commercial Code has been stipulated in 10 subsections. The spouse may not generally claim other causes of divorce except these 10 subsections. According to the Civil Code of Taiwan and Japan stated that either husband or wife may apply to the Court for a divorce upon any causes leading to the difficulty in the maintenance of the marriage. The Tokyo High Court recently ruled that a husband who separated from his wife and lived with another woman for six years can file for divorce. In addition, Thailand’s causes of divorce under Section 1516 (7) stipulates that a husband or wife may file for divorce on the causes that the others is insane to endure existence of marriage for more than three years. Being forced with a strict time may be unreasonable to another.<br>Therefore, limiting cause and time for filing the divorce under Section 1516 may lead to the disastrous result. The author therefore proposes to amend the time to file for divorce in the Civil and Commercial Code, Section 1516 (7) and enhance cause of divorce on any other important reasons making it difficult to continue the marriage.</p> Dr. Pomrudee Kumpant, Associate Professor Mattaya Jittirat, Assistant Professor Dr. Kanlayanee Theerawongpinyo Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7162 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 Soft Skills สำหรับนักกฎหมำยในศตวรรษที่ 21: กำรพัฒนำทักษะกำรโค้ชเพื่อกำรสื่อสำรอย่ำงเห็นอกเห็นใจสำหรับนักกฎหมำย http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7163 <p>บทคัดย่อ<br>บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาความหมายและความสาคัญ กระบวนการและวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะ รวมไปถึงปัญหาเกี่ยวกับทักษะและการพัฒนาทักษะการโค้ช (coaching) เพื่อการพัฒนาทักษะการโค้ชสาหรับการสื่อสารอย่างเห็นอกเห็นใจสาหรับนักกฎหมาย เพราะการสื่อสารเป็นสิ่งที่นักกฎหมายจาเป็นต้องทาตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคการสื่อสารไร้พรมแดนและยุคแห่งความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การพัฒนาทักษะการโค้ชเพื่อการสื่อสารอย่างเห็นอกเห็นใจสาหรับนักกฎหมายจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง โดยการพัฒนาดังกล่าวต้องสอดคล้องกับการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพนักกฎหมายในอนาคต ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะให้หลักสูตรนิติศาสตร์ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาทักษะการโค้ช ทักษะดังกล่าวประกอบด้วยทักษะสาคัญๆ ได้แก่ การฟังอย่างลึกซึ้ง การตั้งคาถามอันทรงพลัง การสะท้อนกลับ รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะการสื่อสารอย่างเห็นอกเห็นใจแก่นิสิต นักศึกษา โดยผู้สอนบรรยายในรายวิชาบังคับคือวิชาจริยธรรมสาหรับนักกฎหมาย เพื่อเข้าจึงความหมายและความสาคัญของการชี้แนะ และการสื่อสารอย่างเห็นอกเห็นใจ ผ่านกระบวนการฝึกฝน การฟัง การถาม การสะท้อนกลับ รวมถึงทักษะที่เกี่ยวข้องอื่นๆ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>Abstract<br>This study examines Soft Skills for Lawyers in 21st Century: Developing Coaching Skills for Empathic Communication for Lawyers. The legal professional is a profession that requires human skills because they must work with people who are facing with problems such as clients or parties. Communication skill is a must for lawyers, especially in 21st Century which is an era of borderless communication with constantly changing. The development of empathy and empathic communication skills in law schools is essential because it is related to the development of moral and ethics for those who will practice in legal profession the future. This research suggests that law programs recognize the importance of developing faculty members to have coaching skills which consists of major skills, including deep listening, powerful questioning and reflection as well as related skills, such as skills in rapport building. The outcome can be done by setting new teaching and learning styles in compulsory courses such as criminal law or tort law subjects including literature reading, storytelling, watching movies, analyzing feelings and emotions of each character, or having students to perform a role play related to the facts in the case.</p> Prapaporn Rojsiriruch Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7163 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000 บทบรรณาธิการ http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7151 <p>บทบรรณาธิการ<br>วารสารฉบับนี้เป็นวารสารปีที่ 13 ฉบับที่ 2 ของปี 2565 ทางกองบรรณาธิการทุกท่านมีความ<br>ยินดียิ่งที่วารสารได้รับความสนใจจากผู้เขียนภายนอกที่นาบทความวิชาการทางกฎหมายในเรื่องที่<br>หลากหลายมาเผยแพร่ผ่านวารสารของเรา เช่น กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์<br>กฎหมายครอบครัว กฎหมายหนี้ และทักษะการประกอบวิชาชีพนักกฎหมาย ซึ่งเป็นบทความวิจัย 3<br>บทความ เรื่องลิขสิทธิ์การแสดงบัลเล่ต์ การจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร และทักษะ Soft Skills ของ<br>นักกฎหมาย ซึ่งเป็นบทความของ คุณกิ่งกมล เบ็ญจพันธุ์ทวี นักศึกษาระดับปริญญาโท และ คุณสวรรยา<br>อนุมาศ นักศึกษาระดับปริญญาเอกจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ ดร.ประภาภรณ์<br>โรจน์ศิริรัตน์ อาจารย์ประจาคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ ตามลาดับ และอีก 2<br>บทความเป็นบทความเชิงประวัติศาสตร์กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยว่าด้วยเรื่องหนี้และ<br>การหย่าตามลาดับ จาก ดร.ป้อมฤดี กุมพันธ์และทีมผู้เขียนจากคณะนิติศาสตร์ มหาวทยาลัยกรุงเทพ<br>ธนบุรี โดยทุกบทความได้ผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้าน กองบรรณาธิการขอถือโอกาส<br>นี้ขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้กรุณาประเมินบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ และขอขอบคุณ<br>ผู้เขียนที่ส่งบทความมาให้พิจารณาตีพิมพ์ด้วย<br>หวังว่าทุกบทความจะมีประโยชน์ในทางวิชาการต่อผู้อ่านทุกท่าน<br>ดร.ธนสาร จองพานิช<br>บรรณาธิการ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>Editorial Notes<br>This issue is Assumption University Law Journal (AULJ) Volume 13 No.2 of 2022.<br>The Editorial team is delighted that our journal is interested by several academicians<br>from variety fields of study whose articles are about copy rights law, dept law, real estate<br>law, and family law. This volume contains 3 research articles which are copy rights of<br>ballet solo performance written by Kingkamol Benchaphanthawi, real estate law related<br>to housing estate juristic person written by Sawanya Anumas, and Soft skills of lawyers<br>written by Dr.Prapaporn Rojsiriruch. The other two articles are about the history of Thai<br>Civil Code on family and dept laws which were written by Dr.Pomrudee Kumpant and<br>her team.<br>Lastly, I would like to thank all Editorial Board members, writers, and Editor team<br>members for a hard working for a better quality of the journal. I hope every article would<br>add academic benefit to all readers. Please, enjoy your reading.<br>Dr. Tanasarn Chongpanish,<br>Editor</p> Dr. Tanasarn Chongpanish Copyright (c) 2023 AU Law Journal http://www.assumptionjournal.au.edu/index.php/LawJournal/article/view/7151 Mon, 09 Jan 2023 00:00:00 +0000