หลักนิติธรรมในโลกสมัยใหม่

The Rule of Law in the New World

Authors

  • Dr. Valnora Leister

Keywords:

กฎหมายอวกาศนานาชาติ, หลักนิติธรรม, คณะกรรมการการใช้ห้วงอวกาศอย่างสันติห่งองค์การสหประชาชติ, International Outer Space law, Rule of Law, the United Nations, the United Nations Committee on the Peaceful Uses of Outer Space (COPUOS)

Abstract

บทคัดย่อ
หลายประเทศได้ประกาศความตั้งใจของตนเองที่จะริเริ่มทำเหมืองบนดาวเคราะห์และบนดวงจันทร์ตลอดจนการไปตั้งถิ่นฐานของมนุษยชาติบนดวงจันทร์และดาวอังคาร นักลงทุนและผู้ประกอบการคาดหมายว่าการทำเหมืองอวกาศจะมีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐ ดังนั้นการแสวงหาผลประโยชน์จากอวกาศจึงมีการขยายขนาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คำถามก็คือทรัพยากรที่มีค่าเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อบางประเทศหรือบางบริษัทเป็นการเฉพาะตัวหรือเป็นไปเพื่อประโยชน์ของประชากรทั้งปวงบนโลก ประเทศหรือบริษัทต่าง ๆ ซึ่งมีความสนใจในการใช้ทรัพยากรเหมืองภายใต้กรอบการเมืองกฎหมาย และหลักการทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ทำให้มีแนวความคิดที่แตกต่างกันในการใช้ทรัพยากรจากอวกาศบทความนี้ได้วิเคราะห์ถึงการแปลความที่หลากหลายในปัจจุบันเกี่ยวกับกฎหมายอวกาศสากลแนวทางต่าง ๆ ในเรื่องการริเริ่มและจุดประสงค์ในการสำรวจอวกาศ ความท้าทายในการสำรวจ และโอกาสเพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของนานาชาติด้วยสนธิสัญญาเกี่ยวกับอวกาศ ซึ่งมีผลผูกพันทุกประเทศ ซึ่งพยายามแสวงหาและจัดตั้งพรมแดนของมนุษยชาติแหล่งใหม่ เราจะได้มีการทบทวนแบบค้นพบหลักการเกี่ยวกับกฎหมายอวกาศ ซึ่งเกิดจากการขยายตัวของเทคโนโลยีและกฎระเบียบของบรรดาชาติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในบทความนี้จะได้พูดถึงความจำเป็นที่จะต้องทำให้กรอบความร่วมมือในเรื่องของอวกาศและมีความทันสมัยอยู่เสมอในช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดที่เกิดขึ้นทั่วทั้งโลกและความไม่แน่นอนของสถานการณ์ของโรคระบาดที่เกิดขึ้น คือจะมีความร่วมมือเกิดขึ้นได้จากผู้มีส่วนได้เสียหลายๆ ฝ่ายในเรื่องของอวกาศที่จะพยายามร่วมกันทำให้เกิดระบบการควบคุมที่ดีมีความยั่งยืน ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง และมีความปลอดภัยเพื่อที่จะนำมาซึ่งประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ ซึ่งในเรื่องนี้ MSOสามารถที่จะหาข้อสรุปร่วมกันประกอบการในการพัฒนาไปสู่โลกใหม่

Abstract
Several countries have announced their intentions to mine the riches of asteroids and the Moon, and to start human settlements on the Moon and Mars. Investors and entrepreneurs anticipate that space mining will be worth trillions of dollars. Thus, the interest is growing on harvesting these riches in outer space. The question is: Will these valuable resources benefit individual countries and companies, or all peoples on Earth? Countries and firms interested in the mining adhere to different ideologies regarding the use of space resources, and are guided by diverse political, legal, and economic principles applied to the use of space resources on Earth. This article analyzes the varying interpretations of current international outer space law, the differing goals of national space initiatives, and their diverging trends on regulations. Among the challenges of pending exploration and settlement projects in outer space is the compatibility of national interests with outer space treaties, which are legally binding
on all nations and peoples exploring or settling in Humanity’s new frontier. After reviewing the founding principles of Outer Space Law vis, a vis, the spread of new technologies and relating national legislations, this paper notes a pressing need for the international community to update frameworks of cooperation in outer space. In a time of rising global tensions and the uncertainties of the pandemic crisis, it is up to the space multi-stakeholders to join efforts to create a more sustainable, inclusive, safe and resilient governance system for the new worlds, bringing benefits to humanity. Toward this end, a trusted global Multi Stakeholders Organization (MSO) can find common ground for entrepreneurial development of the New World.

Downloads

Published

2021-06-29