บรรทัดฐานของศาลปกครองในการใช้อำนาจควบคุม การใช้ดุลพินิจของฝ่ายปกครองในการโอนย้ายข้าราชการ <br> Norms of Administrative Court in Controlling the Use of Discretion on Transference of Government Officials of the Administrative Department

Authors

  • เนทิณีย์ พรหมณะ

Keywords:

ศาลปกครอง, ข้าราชการ, การโอนหุ้นข้าราชการ, การโอนย้ายข้าราชการ, ดุลพินิจของฝ่ายปกครอง, Administrative Court, Government Officials, Transference of the Government Officials, the Use of Discretion of Administrative Department

Abstract

บทคัดย่อ
ปัญหาการโยกย้ายข้าราชการเป็นปัญหาที่พบอยู่ทุกยุคทุกสมัย เนื่องจากการโยกย้ายเป็นการ จัดระเบียบให้หน่วยงาน เพื่อหน่วยงานจะได้บุคลากรที่มีคุณภาพเหมาะสมกับงาน แต่ทั้งนี้ การโยกย้ายอาจแอบแฝงด้วยความไม่เป็นธรรม อาจเกิดการกลั่นแกล้ง เนื่องจากการออกค าสั่งโยกย้ายเป็นคำสั่งซึ่งออกโดยผู้บังคับบัญชา ซึ่งอาจส่งผลต่อผู้ถูกย้าย หากเป็นเช่นนั้นจะมีระบบการตรวจสอบการใช้อำนาจโยกย้ายของฝ่ายปกครอง โดยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมเพื่อผู้ร้องสามารถยื่นอุทธรณ์กรณีการโยกย้ายของตนได้ หากไม่เห็นด้วยสามารถยื่นฟ้องต่อศาลปกครองซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ให้ศาลปกครองรับพิจารณากรณีฝ่ายปกครองออกคำสั่งทางปกครองที่ไม่เป็นธรรมซึ่งศาลปกครองยังไม่มีหลักกฎหมายในการพิจารณา ศาลปกครองต้องใช้ข้อเท็จจริงประกอบกับข้อกฎหมาย ร่วมกับทฤษฎีหลักการทางปกครองพิจารณาซึ่งถือว่าเป็นการใช้ดุลพินิจที่มากกว่าการนำตัวบทมาปรับใช้ ซึ่งสุ่มเสี่ยงต่อความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นได้ ดังนั้น การสร้างบรรทัดฐานหรือมาตรการที่ชัดเจนให้ศาลปกครองในการพิจารณากรณีการโยกย้ายจึงต้องมีการกำหนดขึ้น

Abstract
The transference problem of government official is a problem that has been around for a long time. Transference is management of government sector for government will have quality personnel suitable for duty. But transference is able to latent with unfairness because the power of discretion depends on top executive. So, it should have a system that control the using discretion power of the administrative department. Now, the Civil Service Act B.E. 2551establish of the Merit System Protection Commission for check the accuracy of administrative order. If that officer is not agreed, they can institute a case to administrative court. According to Establishment of the Administrative Court and Administrative Court Procedure, B.E. 2542, the Administrative Court considered the case that the administrative department issued an unfair administrative order but consideration of the Administrative Court has not cleared the principle of law to solve transference problem. The Administrative Court must use facts and law together. Including, using the theory of principles of law for ensure the decision as not to make mistake. Therefore, creating a clear norm or measure for the Administrative Court to consider the transference case is therefore important to determine and solve transference.

Downloads

Published

2020-12-28