แนวทางปฏิรูปกฎหมายและข้อบังคับสถาบันเพื่อพัฒนา การอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศของไทย<br>Guidelines for Reforming of International Commercial Arbitration Law and Institutional Rules for Thailand

Authors

  • ผศ. ดร.วริยา ล้ำเลิศ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ Dissertation Advisor
  • รติมา นิรันพรพุทธา นักศึกษาปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Student, LL.D. Program, Faculty of law, National Institute of Development Administration (NIDA)

Keywords:

อนุญาโตตุลาการทางการค้า, ปฏิรูป, กฎหมายอนุญาโตตุลาการ, ข้อบังคับสถาบัน อนุญาโตตุลาการ, Commercial Arbitration, Reforms, Arbitration Law, Arbitration Institutional Rules

Abstract

บทคัดย่อ 

บทความฉบับนี เป็นผลงานวิจัยของการศึกษาแนวทางปฏิรูปกฎหมายและข้อบังคับสถาบัน อนุญาโตตุลาการของประเทศไทย เพื่อน้าเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายและข้อบังคับสถาบันรวมถึง ข้อจ้ากัดบางประการ เพื่อพัฒนาการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศของไทยให้เป็นที่ยอมรับและ น่าเชื่อถือยิ่งขึ น เนื่องจากกฎหมายและข้อบังคับสถาบันอนุญาโตตุลาการในปัจจุบันแม้ว่าในระหว่างที่ผู้วิจัยได้ ท้าการศึกษางานวิจัยนี อยู่นั นได้มีร่างพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....ซึ่งเป็นฉบับแก้ไข เพิ่มเติมพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ยังคงมีประเด็นปัญหาบางประการที่ไม่สอดคล้องกับ มาตรฐานสากลอันเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ ในการศึกษาได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยนำ ทฤษฏีผสม (The Mixed or Hybrid Theory) กฎหมายต้นแบบของคณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law: “UNCITRAL Model Law”) ค.ศ. 1985 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 2006 กฎหมายอนุญาโตตุลาการกลุ่มประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายคอม มอนลอว์และซีวิลลอว์รวมถึงแนวปฏิบัติของสถาบันอนุญาโตตุลาการชั นน้าของประเทศเหล่านั นเป็นฐานเพื่อใช้ ในการวิเคราะห์ศึกษา บทบาทศาลในกระบวนพิจารณาการอนุญาโตตุลาการกรณีมาตรการคุ้มครองชั่วคราวก่อนมีการ แต่งตั งคณะอนุญาโตตุลาการ และกรณีการปฏิเสธการบังคับค้าชี ขาดด้วยเหตุขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน (Public Policy) ความสอดคล้องของกฎหมายไทยกับข้อบังคับสถาบัน อนุญาโตตุลาการ รูปแบบระบบและขอบเขตการใช้กฎหมาย ความรับผิดทางอาญาของอนุญาโตตุลาการ บทบาทรัฐในการอนุญาโตตุลาการ รวมถึงประเด็นปัญหาอื่น ๆ อันได้แก่ ความสามารถทางภาษาของบุคคลที่ ท้างานทางด้านอนุญาโตตุลาการ การได้มาและการรับรู้ถึงค้าพิพากษาค้าชี้ขาด การกำหนดค่าใช้จ่ายและการ จ่ายค่าวิชาชีพให้แก่อนุญาโตตุลาการ ประเด็นเหล่านี ถือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการอนุญาโตตุลาการทาง การค้าระหว่างประเทศของไทย 

Abstract

The aim of this study is to examine guidelines for international commercial arbitration law and institutional rules for Thailand and to find out the better structure of law and rules that can enhance the country being recognized and reliable because the existing regulations despite of the new amendment draft do not facilitate to achieve such goal. The study is conducted basing on qualitative methodology and apply The Mixed or Hybrid Theory, United Nations Commission on International Trade Law: “UNCITRAL Model Law” 1985 with amendments as adopted in 2006 and review arbitration laws of Common and Civil Laws countries including the international best practices of their most popular arbitral institutions.  On this basis, this paper identifies areas for reforming in Thai arbitration landscape i.e. the role of court in arbitral proceeding particularly interim measures prior to the appointment of arbitrator tribunal and the interpretation of Public Policy, the scope of application, arbitrator’s criminal liability, the state role to support arbitration including other issues such as language skills, channels to learn about court final awards judgment, determination of arbitral tribunal’s fees in order to strengthen the existing international commercial arbitration mechanisms. 

Author Biography

ผศ. ดร.วริยา ล้ำเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ Dissertation Advisor

** Ratima Nirunpornputta

Downloads

Published

2019-03-05