แนวคิด “การวางนโยบายทางตุลาการ” <br> The Concept of Judicial Policy Making

Authors

  • ธนโรจน์ หล่อธนะไพศาล ภ.บ.(จุฬา),น.บ.,น.ม.(มหาชน-จุฬา) รองศาสตราจารย์ ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

Keywords:

ฝ่ายตุลาการ, การวางนโยบายทางตุลาการ, นโยบายสาธารณะ, Judiciary, Judicial Policy Making, Public Policy

Abstract

การวางนโยบายทางตุลาการของฝ่ายตุลาการเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ ของการบริหารงานภาครัฐ เพื่อให้ตอบสนองต่อสภาพสังคมที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในปัจจุบันในการจัดทำนโยบายสาธารณะ แต่บทบาทฝ่ายตุลาการอาจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ตามที่มาทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ระบอบการเมืองการปกครอง และกฎหมาย รัฐสมัยใหม่จึงไม่ควรปฏิเสธบทบาทและอำนาจหน้าที่ของฝ่ายตุลาการต่อการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทางสังคม แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญ เพราะย่อมเป็นหน้าที่ขององค์กรของรัฐทุกองค์กรที่จะแก้ไขปัญหาสังคมตามอำนาจหน้าที่องค์กรทั้งหน้าที่โดยตรงและหน้าที่ทางอ้อมที่อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญภายใต้หลักการแบ่งแยกและดุลคานอำนาจที่จัดวางโครงสร้างหน้าที่ของแต่ละสถาบันการเมืองในองค์ประกอบของรัฐที่ปวงชนสร้างขึ้นมา และปวงชนจะเป็นผู้ขับเคลื่อนรัฐภายใต้การสร้างกฎหมายเพื่อปกครองตนเองของปวงชน

 

ABSTRACT

The judicial policy making of judiciary is new paradigm for public administration, to response the fast movement of social fact for public policy choices. However the authority of judiciary branch would be different in many states , As the source of history, culture, political regime and legal system .The modern states should not reject judicial authority to participate in a solution of the social problems, but judicial authority which used for judicial policy making must implement in democratic constitutional procedure, because the state formulation from people sovereignty to design different functions of political institutions under separation of power principle, finally, the people, who driven the state by institutions, would make the law for self-government.

Downloads

Published

2018-04-03