The Right to be Nomadic? Freedom of Movement in the Aspect of Mokens

Authors

  • Hsuan Liu Hsuan Liu (Claudia) is a Doctoral Candidate at the Faculty of Law, Chulalongkorn University. She was the Visiting Fellow of the Refugee Studies Centre at the University of Oxford and currently a part-time lecturer at Thammasat and Rangsit University. Hsuan Liu (Claudia) เป็นนักศึกษาปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเป็น Visiting Fellow ของศูนย์ศึกษาผู้ลี้ภัยแห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยรังสิต

Keywords:

ชนร่อนเร่, มอแกน, เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน, คนไร้รัฐ, Normadic, Moken, Freedom of Movement, Stateless Person

Abstract

ยังไม่ค่อยมีการสำรวจในเชิงลึกเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องกันระหว่างสิทธิมนุษยชนของเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานและคนไร้รัฐ โดยปรากฏชัดในกรณีของชาวมอแกนซึ่งเป็นคนไร้รัฐที่มีวิถีชีวิตอย่างชนร่อนเร่อยู่ในประเทศไทยมาหลายชั่วอายุคน แต่น่าเป็นห่วงว่าพวกเขากลับถูกจำกัดสิทธิในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน โดยในบทความนี้ ผู้เขียนจะกล่าวถึงภูมิหลังของชาวมอร์แกน วิถีชีวิตและการที่รัฐเข้ามาจากัดเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของพวกเขา นอกจากนี้ผู้เขียนยังจะกล่าวถึงองค์ประกอบของเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานและความเกี่ยวข้องกันระหว่างเสรีภาพดังกล่าวกับคนไร้รัฐ โดยผู้เขียนเห็นว่า แทนที่จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการการให้สัญชาติแต่เพียงอย่างเดียว การมุ่งเน้นไปที่เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานน่าจะเป็นหนทางที่ดีกว่าสำหรับการส่งเสริมสถานะและสิทธิของชาวมอแกน และในตอนท้าย ผู้เขียนสรุปว่า การส่งเสริมเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน จะทาให้ชาวมอแกนที่เป็นคนไร้รัฐสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้ดี และสามารถเข้าถึงสิทธิมนุษยชนด้านอื่น ๆ ได้มากขึ้น

The relevance between the human right of freedom of movements and stateless persons have hardly been explored in depth. This is especially true when it comes to Stateless Moken people, who have been living a nomadic lifestyle in Thailand for generations yet restriction on their movements are still a concern. In this article, the writer will examine the background of the Mokens, their way of life and how their freedom of movement are being restricted by the States; the writer will also examine the components of freedom of movement and its relevance with stateless persons. The writer argues that instead of going through the naturalization process, observing the freedom of movement are a better way to enhance the status and rights of Mokens. At last, the writer concludes that with the observance of the individual's freedom in movement, the stateless Mokens would be in a more advantageous position to assimilate into the Thai society and enhance their access to other human rights

Downloads

Published

2018-01-05